กทม.รับมือสภาพอากาศแปรปรวน “ร้อน - ฝน - ฝุ่น”

กทม.รับมือสภาพอากาศแปรปรวน “ร้อน - ฝน - ฝุ่น”
กทม.เตือนประชาชนระวังอันตรายที่
เตือนภัย 5 โรคติดต่อในช่วงฤดูร้อน
1. โรคบิด : ท้องเสีย ถ่ายเหลว มีไข้สูง คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง
2. อหิวาตกโรค : ถ่ายเป็นน้ำ เหมือนน้ำซาวข้าว โดยไม่มีอาการปวดท้อง คลืนไส้ อาเจียน
3. โรคอุจจาระร่วง : ถ่ายเหลวเป็นน้ำ มีมูกเลือด คลื่นไส้ อาเจียน มีไข้ ปวดเมื่อยเนื้อตัว ปวดท้องรุนแรง
4. โรคอาหารเป็นพิษ : ปวดบิด อาเจียน ถ่ายเป็นน้ำ มีไข้ อ่อนเพลีย
5. ไข้ไทฟอยด์หรือไข้รากสาดน้อย : ไข้สูง อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร แน่นท้อง ท้องผูกตามด้วยท้องเสีย
สามารถป้องกันโรคเหล่านี้ได้ โดยรับประทานอาหารปรุงสุกใหม่ หลีกเลี่ยงอาหารสุกๆ ดิบๆ ดื่มน้ำสะอาด ล้างผักผลไม้หลาย ๆ ครั้ง และล้างมือก่อนรับประทานอาหาร หรือปรุงอาหาร
พร้อมระวัง 6 อาการเสี่ยงที่มักจะมาพร้อมช่
1. ผื่นผิวหนัง ระคายเคืองและเป็นตุ่มสีแดง หรือผื่นบริเวณหน้า ลำคอ หน้าอกส่วนบน ใต้ราวนม และขาหนีบ
2. บวมที่ขา หรือข้อเท้า
3. ตะคริว กล้ามเนื้อหดตัวและเกร็งอย่
4. เป็นลม
5. เพลียแดด เหงื่อออก อ่อนเพลีย เวียนศีรษะ ปวดศีรษะ คลื่นไส้ กระหายน้ำ หายใจเร็ว หัวใจเต้นเร็ว
6. โรคลมแดด หรือฮีตสโตรก (Heat Stroke) ผิวหนังแดง ร้อน เหงื่อไม่ออก สับสน หมดสติ
วิธีการป้องกันอาการเสี่ยงทั้ง 6 คือ สวมเสื้อผ้าที่ระบายอากาศได้ดี พักผ่อนให้เพียงพอ จิบน้ำบ่อย ๆ ดื่มเกลือแร่หากเสียเหงื่อมาก และหลีกเลี่ยงการทำกิ
หากมีอาการ หรือข้อสงสัย ติดต่อสายด่วนสุขภาพ โทร.1646 สำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร หรือเจ็บป่วยฉุกเฉิน โทร.1669
กทม.เตรียมพร้อมรับมื
สำนักการระบายน้ำ ตรวจสอบประสิทธิภาพและความพร้
พร้อมจัดเตรียมสำรองเครื่องสู
สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ประสานสำนักงานเขตตรวจสอบความมั่
กทม.เดินหน้าแก้ไขปัญหาเชิงรุ
1. ตรวจสอบเพื่อควบคุมการเกิดฝุ่
2. ตรวจสอบและบำรุงรักษารถยนต์ให้
3. ป้องกันปัญหาไฟไหม้หญ้าในพื้นที่
4. งดพฤติกรรมที่อาจก่อให้เกิดฝุ่
นอกจากนี้ ยังได้ประสานสถานีตำรวจนครบาลท้
หากประชาชนพบเหตุไฟไหม้หญ้า กองขยะ หรือเหตุสาธารณภัยอื่น ๆ สามารถแจ้งสายด่วน โทร.199 ได้ตลอด 24 ชั่วโมง
ไม่มีความคิดเห็น