หมดกังวลกับโรคอกบุ๋ม
หมดกังวลกั บโรคอกบุ๋ม
โดย ผศ.นพ.ศิระ เลาหทัย แพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ศัลยศาสตร์ทรวงอกเฉพาะทาง ด้านโรคปอด โรงพยาบาลวชิรพยาบาล
ผศ.นพ.ศิระ เลาหทัย จากคณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล กล่าวว่าโรคนี้ปัจจุบันยังไม่ ทราบสาเหตุที่แน่ชัด พบอัตราส่วนการเจ็บป่วย 1 ต่อ 1,000 คนและมักเป็นเพศชายมากกว่ าเพศหญิง 3-4 เท่าและอาจเจอกระดูกสันหลังคดร่ วมด้วย วิธีการวินิจฉัยมักทำได้ โดยการเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT chest) เพื่อดูสัดส่วนความกว้ างยางของบริเวณทรวงอก หรือ ที่เรียกว่า Haller index ถ้ามีอัตราส่วนมากกว่า 2.5 ถือว่ามีความผิดปกติ
ปัจจุบันวิธีการรักษาโรคนี้ รักษาได้ทั้งผ่าตัด และ ไม่ผ่าตัดการรักษาโดยไม่ผ่าตั ดนั้น สามารถใช้อุปกรณ์ดูดผนังทรวงอก หรือ เรียกว่า Vacuum bell ซึ่งมักนิยมใช้ในผู้ป่วยที่ ภาวะอกบุ๋ม แบบไม่รุนแรง กลไกการรักษาโดยวิธีจะใช้ เครื่องมือตัวนี้ทำหน้าที่ดู ดบริเวณที่หน้าออกยุบขึ้นมา โดยจะค่อยช่วยอย่างช้า ๆ ซึ่งจะใช้เวลาอย่างต่ำ 1 ถึง 2 ปี ในการที่จะเห็นผล มักทำในเด็กที่มีอายุน้อยกว่า 10 ขวบและภาวะอกบุ๋มไม่รุนแรง (โดยความลึกไม่มากกว่า 1.5 เซนติเมตร)
โดยวิธีการคือการผ่าตัดนั้น มักจะใช้ในผู้ป่วยที่มีภาวะอกบุ๋ มแบบรุนแรง โดยจะมีวิธีการผ่าตัดหลัก 2 วิธี คือ วิธีการผ่าตัดแบบเปิด หรือ เรียกว่า Ravitch procedure หรือ อีกวิธีที่เรียกว่า Sternal turnover โดยทั้งนี้ เปิดการผ่าตัดแบบดั้งเดิม โดยการตัดกระดูกบริเวณหน้าอกแล้ วพลิกกลับหรือตัดบริเวณกระดูกอ่ อนแล้วดันขึ้นมา
ส่วนอีกวิธีคือ การผ่าตัดส่องกล้อง หรือที่เรียกว่า Nuss procedure เป็นการผ่าตัดส่องกล้องโดยใช้ แท่งโลหะผ่านบริเวณใต้กระดูกหน้ าอกแล้วดัดกระดูก โดยไม่ได้มีการตัดกระดูก โดยจะใช้เวลาดัดประมาณ 3-4 ปี หลังจากนั้นจะเอาเหล็กออก ซึ่งจะสามารถลดภาวะแทรกซ้อน และ ฟื้นตัวได้ไหวกว่าการผ่าตั ดแบบเปิดอย่างเห็นได้ชัด
.jpg)
โดยวิธีการคือการผ่าตัดนั้น มักจะใช้ในผู้ป่วยที่มีภาวะอกบุ๋
ส่วนอีกวิธีคือ การผ่าตัดส่องกล้อง หรือที่เรียกว่า Nuss procedure เป็นการผ่าตัดส่องกล้องโดยใช้
.jpg)
ภายหลังการดูแลหลังจากการผ่าตัด จะต้องสังเกตอาการ ควบคุมอาการปวดโดยยาหลายแขนง สามารถกินข้าวได้ตามปกติหลังผ่
ไม่มีความคิดเห็น